การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (16) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

ดังนั้น แนวทางการวัดทางจิตวิทยาจึงทำได้หลายแนวทางด้วยกัน ได้แก่ การวัดตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นตัวแทนของพฤติกรรมที่ต้องการวัด กระบวนการวัดที่จัดอยู่ในสภาวการณ์ที่มีความเป็นมาตรฐาน รวมถึงการให้คะแนนและการตีความของคะแนน มีความเป็นปรนัย

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (15) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

จากการทบทวนเอกสารพบว่า การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณสามารถทำได้ โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายประการ ทั้งปัจจัยที่เป็นการพัฒนาในระดับบุคคล โดยการทบทวนตนเอง การฝึกควบคุมอารมณ์ การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (14) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

กำลังใจ บางครั้งการปฏิบัติงานท่ามกลางภาวะวิกฤติจะก่อให้เกิดความท้อแท้ในการทำงาน บรรยากาศการทำงานแย่ลง และส่งผลบั่นทอนจิตใจผู้ปฏิบัติงาน การได้รับเสียงสะท้อนที่ดี ก็จะเป็นเหมือนน้ำหล่อเลี้ยงจิตใจให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดพลังใจในการที่จะพัฒนาตนเองเพื่อการพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (13) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ในทางปฏิบัติแล้ว เป็นการยากที่จะบอกเป็นกฏเกณฑ์ตายตัวว่าปัจจัยใดบ้างที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้หรือการเติบโตทางจิตวิญญาณ ปัจจัยเหล่านี้บอกเพียงแนวโน้มหรือความเป็นไปได้ที่โอกาสในการเรียนรู้จะเกิดขึ้นมากกว่าที่จะเป็นปัจจัยกำหนดที่คาดการณ์หรือหวังผลได้อย่างเครื่องยนต์กลไก

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (11) ความหมายของสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

จากการทบทวนแนวคิดทางด้านจิตวิญญาณและสุขภาวะทางจิตวิญญาณ พบว่า มีการใช้คำว่า จิตวิญญาณ และสุขภาวะทางจิตวิญญาณในความหมายเดียวกันและใกล้เคียงกัน หรือมีความหมายที่แตกต่างกันออกไปตามผู้นิยาม นอกจากนั้น ยังพบว่า การให้ความหมายของจิตวิญญาณมีความหลากหลายลึกซึ้ง ทำความเข้าใจยาก

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (10) ความหมายของสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

การพยายามที่จะทำให้ Lexical definition มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ตามความรู้ความเข้าใจที่มีมากขึ้นในเรื่องนั้น ๆ หรือเพื่อการปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขทางสังคมที่เปลี่ยนไป เพื่อให้ความหมายที่เป็นที่ยอมรับกันมีความแม่นหรือตรงกับสิ่งที่กล่าวถึงมากขึ้น

1 7 8 9 10 11 18