อุ้มบุญ (9) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ในแต่ละระดับอาจสอดคล้องกัน หรือขัดแย้งกันเองก็ได้ โดยเฉพาะในเรื่องเสรีภาพของปัจเจกชน (individual autonomy) ในการทำแท้ง การช่วยให้กำเนิดบุตรด้วยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ กับการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ของกลุ่มชน สังคมและเผ่าพันธุ์มนุษย์

อุ้มบุญ (8) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ในด้านของความหมายของหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2540 ได้กล่าวถึงหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ไว้ ซึ่งอาจมีความหมายแตกต่างแตกต่างกันออกไปได้

อุ้มบุญ (7) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ในกรณีของประเทศไทย แพทยสภาซึ่งมีบทบาทสำคัญในเรื่องนี้ได้ออกประกาศแพทยสภาที่ 1/2540 เรื่องมาตรฐานการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ และประกาศแพทยสภาที่ 21/2545 เรื่องมาตรฐานการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ฉบับที่ 2)

อุ้มบุญ (5) สถานการณ์และสภาพปัญหาของการปฏิสนธิเทียม

ความต้องการมีบุตรไว้สืบสกุล เป็นสาเหตุสำคัญที่คู่สมรสได้ฝากความหวังไว้กับแพทย์ที่จะช่วยให้สมประสงค์ อาจกล่าวได้โดยความคิดของคนทั่ว ๆ ไป การมีบุตรเป็นส่วนประกอบสำคัญของชีวิตสมรสและความเป็นครอบครัว บางครอบครัวกังวลมากกับการไม่มีบุตรและเป็นความรู้สึกที่เป็นทุกข์

อุ้มบุญ (4) บทนำ

อย่างไรก็ดีปัญหาที่เกิดขึ้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแต่ละกรณีและวิธีการที่ใช้ ดังนั้นจึงควรวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพปัญหาของการปฏิสนธิเทียมโดยการศึกษาวิธีการต่างๆที่นำมาใช้ สาเหตุและความจำเป็นในการนำเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์มาใช้

อุ้มบุญ (1) กฎหมายชีวจริยธรรม

ศึกษาทบทวนและระบุปัญหากฎหมายที่เกี่ยวข้อง อันเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ วิเคราะห์ช่องว่างหรือความไม่เหมาะสมของกฎหมายของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และเสนอแนวทางตลอดจนหลักการและเหตุผลในการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง

1 2