อุ้มบุญ (27) ข้อพิจารณาจากการประชุม บทนำ: ประเด็นเบื้องต้นด้านกฎหมาย

การขยายความครอบคลุมของกฎหมายให้มาถึงการคุ้มครองตัวอ่อน แทบจะไม่มีการพูดถึงเลย เป็นเรื่องการตีความว่าการคุ้มครองตัวอ่อนคืออะไร แล้วก็จะเกิดปัญหาต่างๆ มากมาย ประเด็นนี้จะเป็นสิ่งที่จะปรึกษาหารือกันในวันนี้

อุ้มบุญ (21) ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

สามีของหญิงผู้ให้กำเนิดทารกเป็นบิดาของเด็ก ดังนั้นเด็กที่ปฏิสนธิจากอสุจิบริจาคจึงมีสิทธิได้รับมรดกของชายผู้เป็นสามีของมารดาตน เว้นแต่ศาลพิพากษาว่าเด็กมิใช่บุตรโดยชอบ

อุ้มบุญ (18) ปัญหากฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวที่เกิดขึ้น

กรณีการอุ้มบุญเคยมีข้อหารือจากกรมบัญชีกลางมายังคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับกรณีคู่สมรสซึ่งเป็นข้าราชการในสังกัดของมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าได้มีการแจ้งจำนวนบุตรพร้อมแสดงหลักฐานของทางราชการเพื่อขอรับสิทธิเบิกเงินสวัสดิการรักษาพยาบาลและการศึกษาของบุตร

อุ้มบุญ (15) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

สำหรับประเทศที่ห้ามการซื้อขายอวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายโดยถือเป็นอาชญากรรม การห้ามจะครอบคลุมเรื่องการซื้อขายเชื้ออสุจิ ไข่ ตลอดจนตัวอ่อนด้วยหรือไม่ คำตอบขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์นิยามของคำว่าอวัยวะมนุษย์ซึ่งอาจมีความชัดเจนมากน้อยแตกต่างกันไปตามแต่ละกรณีศึกษา

อุ้มบุญ (12) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข

เมื่อพิจารณากรณีตัวอย่างของประเทศที่อนุญาตให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ก็จะพบว่ามีคดีความที่ซับซ้อนเกิดขึ้นและนำไปสู่การศึกษาและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ครอบคลุมและรองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากการปฏิสนธิเทียม

อุ้มบุญ (7) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ในกรณีของประเทศไทย แพทยสภาซึ่งมีบทบาทสำคัญในเรื่องนี้ได้ออกประกาศแพทยสภาที่ 1/2540 เรื่องมาตรฐานการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ และประกาศแพทยสภาที่ 21/2545 เรื่องมาตรฐานการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ฉบับที่ 2)

1 2 3 4