การขับเคลื่อนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (17)

น้ำหนักต่ำเป็นไปไม่ได้ที่แม่จะให้ลูกกินข้าวพอ ในชุมชนต้องมาช่วยกันแก้ไข เวลาเราเกิดปัญหาเจ้าหน้าที่ สอ.ทำไม่ได้หรอก ไปเอาอบต. ผู้ใหญ่บ้าน อสม. มาด้วย ไม่ต้องกำหนดบทอะไรที่มันซับซ้อนมาก

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (10) ความหมายของสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

การพยายามที่จะทำให้ Lexical definition มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ตามความรู้ความเข้าใจที่มีมากขึ้นในเรื่องนั้น ๆ หรือเพื่อการปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขทางสังคมที่เปลี่ยนไป เพื่อให้ความหมายที่เป็นที่ยอมรับกันมีความแม่นหรือตรงกับสิ่งที่กล่าวถึงมากขึ้น

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (1)

การแบ่งประเภทสุขภาวะตามการวิเคราะห์ข้างต้น หากนำมาประยุกต์ใช้กับเรื่อง “สุขภาวะทางจิตวิญญาณ” จะได้ผลอย่างไร คำถามประการแรกที่มีคือ “อะไรคือสมรรถนะที่นำสู่ภาวะนี้” ในกรณีของสุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางกาย และแม้กระทั่งสุขภาวะทางสังคมนั้น คำถามดังกล่าวไม่ปรากฏ

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับนิยามสุขภาวะด้านจิตวิญญาณ (3)

ถ้ายึดกรอบการทำงานที่แยกระหว่าง “ภาวะ” และ “สมรรถนะ” เราจะทำความเข้าใจ “จิตวิญญาณ” อย่างไรดี บนเงื่อนไขที่ว่า “จิตวิญญาณ” เป็น “องค์รวม” หรืออีกนัยหนึ่ง ถ้าจิตวิญญาณเป็นทั้งภาวะและสมรรถนะ เราจะทำความเข้าใจอย่างไร ความเป็นองค์รวมนั้นอธิบายความเป็นภาวะได้

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับนิยามสุขภาวะด้านจิตวิญญาณ (2)

นอกจากนี้ยังมีข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของจิตวิญญาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเห็นว่าสำหรับภิรมย์ กมลรัตนกุล และวิโรจน์ เจียมจรัสรังสีแล้ว สติปัญญาดูจะเป็นสมรรถนะที่มีบทบาทที่ประเวศ วะสี และโกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ เห็นว่าเป็นบทบาทของจิตวิญญาณ นั่นคือ การจัดการกับภาวการณ์ดำรงอยู่