การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (20)

คุณธรรม และที่แต่ละคนมีต่างกันไป ได้แก่ ความสำเร็จจากระดับความสามารถที่แตกต่างกันไป แต่เป็นเรื่องไม่น่าคาดถึงว่าข้อมูลในส่วนที่แสดงความหมายของ “ศักดิ์ศรี” แบบไทยกลับให้แนวทางการเชื่อมโยงสู่ “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ที่เข้าใจตามกรอบแนวคิดเรื่องอัตตาณัติ นั่นคือ “กล้าทำ กล้ารับ”

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (19)

ทางออกสำหรับประเด็นข้างต้นดูจะง่าย นั่นคือ เสนอแนะให้นำเนื้อหามาพิจารณาด้วย ซึ่งไม่น่าจะมีข้อขัดข้อง โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาว่าเป็นการสังเคราะห์ความรู้ อย่างไรก็ตาม ปัญหาต่อไปก็คือแนวคิดเรื่อง “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ซึ่งมีบทบาทในการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (18)

สรุปว่าในการพิจารณาข้อมูลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แม้จะไม่เข้ากับ “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ตามกรอบแนวคิดเรื่องอัตตาณัติ อันแอบแฝงอยู่ในแนวคิดเรื่องจิตวิญญาณของตะวันตก และแม้จะมีจุดที่ไปเน้นคุณค่าของบุคคลแทน แต่ในที่สุดก็พบองค์ประกอบที่น่าสนใจ

อุ้มบุญ (10) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

เพราะฉะนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า ตามหลักศาสนาต่างๆ มีความเห็นค่อนข้างสอดคล้องกันว่าการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์จะขัดกับหลักศีลธรรมในกรณีที่มีการทำอันตรายหรือทำลายชีวิตที่เกิดขึ้นแม้ยังพัฒนาไม่ถึงขั้นเป็นมนุษย์ก็ตาม

อุ้มบุญ (9) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ในแต่ละระดับอาจสอดคล้องกัน หรือขัดแย้งกันเองก็ได้ โดยเฉพาะในเรื่องเสรีภาพของปัจเจกชน (individual autonomy) ในการทำแท้ง การช่วยให้กำเนิดบุตรด้วยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ กับการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ของกลุ่มชน สังคมและเผ่าพันธุ์มนุษย์

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (17)

นอกจากการจัดสถานการณ์ด้วยวิธีให้เด็กได้เผชิญและมีบทบาทในสถานการณ์จริงดังกล่าว ยังมีอีกวิธีหนึ่ง นั่นคือ เป็นการมอบหมายความรับผิดชอบ ทำให้ตระหนักถึงความเป็นผู้กระทำของตนเอง

1 2 3