สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (20)

ได้ด้วยการผันแปรทางจินตนาการ การผันแปรนั้นอาจใช้วิธีการต่างกัน เช่น คิดเชิงบวก เอาใจเขามาใส่ใจเรา ทั้งนี้ การผันแปรทางจินตนาการต้องอาศัยความคิดเกี่ยวกับคุณค่า หรือ “ทิศทาง”กำกับ

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (17)

ในเรื่องของการประสานงานที่เหมาะเจาะของความคิดและความรู้สึก ข้อนี้ทำให้ตั้งข้อสงสัยว่าเราจะอยู่ในภาวะทางจิตวิญญาณอยู่เสมอได้อย่างไร นอกจากนี้ ถ้าภาวะร่างกายเป็นไปตามปกติ เราก็จะประเมินว่ามีสุขภาวะทางกาย (ในความหมายที่ว่ามีภาวะทางกายที่มีสุข) แต่ถ้าภาวะทางจิตวิญญาณเป็นอย่างที่เป็น

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (4)

มีข้อมูลที่เน้นมิติด้านความคิด นั่นคือ เป็นข้อมูลที่สัมพันธ์กับ “จิตวิญญาณ” ในฐานะของภาวะอันประกอบด้วยความตระหนักรู้ในความมีความหมายบางอย่าง แต่ข้อมูลดังกล่าวปรากฏในลักษณะของการบรรยายความหมายหรือระบบความคิด

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (1)

การแบ่งประเภทสุขภาวะตามการวิเคราะห์ข้างต้น หากนำมาประยุกต์ใช้กับเรื่อง “สุขภาวะทางจิตวิญญาณ” จะได้ผลอย่างไร คำถามประการแรกที่มีคือ “อะไรคือสมรรถนะที่นำสู่ภาวะนี้” ในกรณีของสุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางกาย และแม้กระทั่งสุขภาวะทางสังคมนั้น คำถามดังกล่าวไม่ปรากฏ

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับนิยามสุขภาวะด้านจิตวิญญาณ (3)

ถ้ายึดกรอบการทำงานที่แยกระหว่าง “ภาวะ” และ “สมรรถนะ” เราจะทำความเข้าใจ “จิตวิญญาณ” อย่างไรดี บนเงื่อนไขที่ว่า “จิตวิญญาณ” เป็น “องค์รวม” หรืออีกนัยหนึ่ง ถ้าจิตวิญญาณเป็นทั้งภาวะและสมรรถนะ เราจะทำความเข้าใจอย่างไร ความเป็นองค์รวมนั้นอธิบายความเป็นภาวะได้