อุ้มบุญ(49) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 4

ไม่ยอมรับว่าสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากส่วนของมนุษย์เป็นทรัพย์ เพราะจะกระทบว่ามนุษย์จะเป็นทรัพย์ได้อย่างไร ในเมื่อมนุษย์ไม่เป็นทรัพย์ เพราะฉะนั้นส่วนของมนุษย์ก็ไม่น่าเป็นทรัพย์ด้วย แต่ว่าจะละเลยไม่ดูแลเลยก็เป็นไปไม่ได้ จึงควรที่จะคุ้มครองในระดับหนึ่ง

อุ้มบุญ (31) การคุ้มครองตัวอ่อนนอกครรภ์ (ต่อ)

ควรจะให้คำจำกัดความของตัวอ่อน โดยเห็นว่าเมื่ออสุจิผสมกับไข่ ช่วงที่เป็นระยะบลาสโตซิส เป็นระยะที่มีกลุ่มเซลล์นั้นยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเป็นลักษณะที่เป็นอวัยวะ จึงมีความเห็นว่า ในระยะดังกล่าวตัวอ่อนน่าจะเป็นเนื้อเยื่อ (Tissue) ยังไม่ถือว่าเป็นระยะที่มีชีวิต

อุ้มบุญ (30) การคุ้มครองตัวอ่อนนอกครรภ์

“เป็นทรัพย์หรือไม่” เพราะหากถือว่าเป็น “ทรัพย์” จะมีปัญหาตามมาหลายเรื่อง ลักษณะในเรื่องการกำหนดให้เป็น “ส่วนของร่างกาย” นี้ในกฎหมายมีความพยายามกำหนดให้ดูเหมือนว่าไม่เป็นหรือไม่เรียกว่า “ทรัพย์” โดยทั่วๆ ไป โดยกำหนดให้มีลักษณะพิเศษ

อุ้มบุญ (25) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

ตรวจวินิจฉัยป้องกันทารกไม่ให้เกิดมาพร้อมกับโรคทางพันธุกรรม ในทางปฏิบัติแพทย์จะเลือกนำตัวอ่อนเฉพาะที่ตรวจไม่พบโรคทางพันธุกรรมนั้นๆ ใส่กลับเข้าไปในร่างกาย และด้วยวิธีดังกล่าวยังสามารถใช้ในการตรวจคัดเลือกเพศของตัวอ่อนได้ไปพร้อมกัน

อุ้มบุญ (24) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

สถานะทางกฏหมายของเซลล์สืบพันธุ์ ตัวอ่อน มีความสำคัญต่อการพิจารณาระดับความคุ้มครองทางกฎหมาย เมื่อมีข้อพิพาท รวมถึงกรณีของผู้ใช้สิทธิดำเนินการต่อสิ่งเหล่านี้ และสิทธิของตัวอ่อนและเด็กที่อาจเกิดขึ้น

อุ้มบุญ (17) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

อย่างไรก็ตามปัญหาสำคัญในเรื่องการคัดเลือกทางพันธุกรรมสำหรับตัวอ่อนคือ เทคนิคดังกล่าวจะนำไปสู่แนวคิดเรื่อง eugenics หรือไม่ โดยที่นักวิทยาศาสตร์ชื่อ Briton Francis Galton เป็นผู้บัญญัติคำดังกล่าวขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 19 เมื่อ ค.ศ.1885

1 2