ข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม

สูติแพทย์จะให้ความเห็นได้มากกว่า ด้วยเหตุผลหลายอย่างคือ มีความรู้ในด้านนี้ มีประสบการณ์เพราะเจอคนไข้ในเรื่องนี้มาก และสูติแพทย์เองก็อาจจะมีความกังวลอยู่ลึกๆ ว่า กลัวจะมีคนมาออกกฎหมายบังคับการกระทำของสูติแพทย์

อุ้มบุญ (57) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 12

ต้องการมีลูกคนเดียวแล้วพอ หรือการมีลูกคนหนึ่งแล้วต้องการอีกคนหนึ่งแล้วพอ คือมีข้อกำหนดที่ออกมาชัดเจน ในแง่ของการคัดเลือกพันธุกรรมค่อนข้างจะลำบากในการตัดสินใจ ในทางปฏิบัติจริง ก็มีการเลือกอย่างกลายๆ อยู่แล้วว่า เพราะในแง่ผู้ปฎิบัติเราก็อยากให้คนไข้ที่มาทำกับเราท้องให้มากที่สุด เพราะฉะนั้นเราต้องเลือกสิ่งที่ดีที่สุดให้กับคนไข้

อุ้มบุญ (56) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 11

ประเด็นต่อไป เป็นกรณี หญิงรักหญิง ชายรักชาย ที่อยากจะมีลูก เห็นว่าขณะนี้สังคมไทยไม่พร้อมเนื่องจากยังมีความเข้าใจผิดติดค้างในสังคมเยอะ ว่าการที่เป็นคนรักเพศเดียวกันนั้นเป็นโรค เพราะฉะนั้นโอกาสที่เด็กมีชีวิตอยู่ในสังคมแบบนี้จะได้รับการเลือกปฏิบัติ จึงยังไม่ควรต้องเสี่ยงให้เด็กต้องมาเจอกับการเลือกปฏิบัติ

อุ้มบุญ (55) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 10

อีกประเด็นที่เรายังไม่ได้คุยกันแต่คิดว่า ถ้าเราจะทำเรื่องเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์เราคงจำเป็นต้องคุยเรื่องโคลนนิ่งด้วย เพราะกำลังมาจ่อหน้าประตู อันที่จริงในต่างประเทศก็มีการโคลนกันเรียบร้อยแล้ว โคลนประเทศนี้ไม่ได้ก็หนีไปโคลนประเทศโน้น ซึ่งก็มีบริษัทรับจ้างทำโคลนนิ่งแล้ว

อุ้มบุญ (51) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 6

“ตาย” ตามกฎหมายในพจนานุกรมไม่เหมาะสำหรับที่แพทย์จะมาใช้ในเรื่องการปลูกถ่ายอวัยวะที่เทคโนโลยีมันไปไกลกว่านั้นมาก ขณะนี้คำว่าตายจะมีคำจำกัดความเพิ่มขึ้นแล้วว่า หมายถึงสมองตายด้วย

อุ้มบุญ(50)การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 5

แม้ครอบครัวที่เป็นต้นแบบก็ปัจจุบันก็ไม่ได้แข็งแรง ในแง่ของคู่สมรสที่ไม่ได้จดทะเบียนตามกฎหมายหรือคู่สมรสที่ไม่ได้ถูกต้องตามกฎหมายว่าควรจะมีสิทธิด้วยหรือไม่ ก็คิดว่าก็ควรมีสิทธิ แต่ว่าต้องมีเงื่อนไขคือ เช่น จะต้องมีผู้ให้ปรึกษาเข้าร่วม อาจจะมีนักสังคม จิตแพทย์ เข้ามาช่วย ดิฉันคิดว่าผู้ที่เป็นเพศเดียวกันก็อาจปรับใช้เงื่อนไขนี้ เป็นการเปิดโอกาส

1 2 3 4