จดหมายข่าว “อาชีวะสัมมาชีพ”

ถ้าเด็กอาชีวะมีคุณภาพ สถานประกอบการก็จะได้เด็กที่เก่งและพร้อมทำงานได้ทันที ถ้าเรามีคนเก่งๆ ประเทศก็จะเจริญเติบโตต่อไปได้ และที่สำคัญคนที่เก่งก็ยังช่วยสอนเพื่อนได้อีก จึงเป็นเหตุผลว่าถึงอย่างไรประเทศก็ต้องมีอาชีวะ ไม่มีไม่ได้ ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

สถานการณ์ของโลกในศตวรรษที่ 21 แตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ19 เป็นอย่างมาก มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี รวมถึงสิ่งแวดล้อม การศึกษาจึงต้องพัฒนาให้สอดคล้องกับความเป­ลี่ยนแปลง ดังนั้นทักษะแห่งอนาคตใหม่ หรือ 21st century skills จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งสามารถสรุปได้เป็น 3 ด้าน คือ 1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning skill and Innovation) 2. ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ (Life skill and career skill) 3. ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร เทคโนโลยี (Information and Technology skill)

หนังสือ คน(ไม่)ธรรมดา

เราต่างมาพร้อมกับพรวิเศษ ที่มีอยู่ในตัวเราทุกคน นั่นกระมัง ที่เราไม่ต้องรอคอยผู้วิเศษหรือซุปเปอร์ฮีโร่ หลายชีวิตในหนังสือเล่มนี้สะท้อนให้เห็นว่า.. คุณค่าและความสุขของชีวิตไม่ได้อยู่ที่หน้าที่การงานใหญ่โต มีทรัพย์สินเงินทองมากมาย

หนังสือ ครูผู้สร้างคน

“ถิ่นไทยในป่ากว้าง ห่างไกล แสงวัฒนธรรมใด ส่องบ้าง เห็นเทียนอยู่รำไร เล่มหนึ่ง ครูนั่นแหละอาจสร้าง เสกให้ชัชวาล” อ้างอิง : ม.ล.ปิ่น มาลากุล

หนังสือ ดั่งไม้ผลิใบ

ดั่งไม้ผลิใบ : เรื่องราวการเรียนรู้ความดีงาม จาก “โลกด้านใน” เรื่องราวจากการเล่าประสบการณ์การทำงานจากเจ้าหน้าที่สายการแพทย์ไม่ว่าจะเป็น แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่สนับสนุน

1 2 3 4 5