สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (14)

ดังชี้ข้างต้นแล้วว่าความตระหนักในความมีความหมายนั้นดูจะเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เมื่อใดที่บุคคลเริ่มยึดติดคุณค่าบางอย่างว่าเป็นตัวตนและหยุดเรียนรู้ ก็เสี่ยงที่จะสูญเสียซึ่งสมรรถนะทางจิตวิญญาณ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์”

ในปัจจุบัน แผนงานฯ มีจุดมุ่งหมายคล้ายกัน แต่ดำเนินการในบริบทการให้บริการทางการศึกษา ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่ามีส่วนสำคัญอย่างมากในการพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้เรียน อันเป็นคนกลุ่มใหญ่ ทั้งนี้ ได้เคยมีการสังเคราะห์กรอบแนวคิดเรื่องสุขภาวะทางจิตปัญญา(หรือจิตวิญญาณ)

ดนตรีกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตอนที่ 7

การทำกิจกรรมดนตรีให้ได้ผลดีและเกิดประโยชน์แก่เด็ก ต้องทำให้เด็กมีความสุขที่ได้ทำกิจกรรมนั้น โดยมุ่งเน้นให้เด็กได้ทำในสิ่งที่ชอบและเป็นตัวของตัวเอง เพื่อเขาจะได้เกิดความภาคภูมิใจในผลสำเร็จที่เกิดจากการคิดสร้างสรรค์ผลงานของเขา

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (13)

เข้าใจในความรู้สึกของญาติ พอเราเข้าใจในความรู้สึกตรงนี้มันทำให้เราไปคิดรูปแบบในการที่เราจะไป Empowerment ผู้ป่วย หรือน้องเราที่จะให้ดูแล เพราะว่าตัวเราเองนี่เราจะประสบ พอตอนหลังมาที่เราอยู่ด้วยกัน เราจะอยู่ด้วยความสบายใจเพราะว่าเราเริ่มปรับที่ตัวเราเองก่อน

การสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตปัญญา(วิญญาณ) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (2)

เรามองว่าเด็กถ้าเค้ารู้เรื่องทุกอย่างแล้วเค้าจะมาโรงเรียนทำไมอะนะคะเพราะฉะนั้นครูจะต้องเป็นแม่เป็นคนที่สอนความเป็นมนุษย์ให้กับเค้านะคะไม่ใช่สอนให้เค้าอ่านออกเขียนได้เพียงอย่างเดียว แต่ว่าจะสอนยังไง และขณะเดียวกันครูจะต้องเป็นแบบอย่างให้กับเด็ก

ดนตรีกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตอนที่ 6

มีอายุอยู่ในครรภ์มารดาประมาณ 4 ถึง 5 เดือน หากคุณพ่อคุณแม่ร้องเพลงหรือพูดกับลูกในท้อง ลูกก็สามารถรับรู้ได้ และเมื่อแรกเกิดจนถึง 2 ขวบ เด็กสามารถรับรู้ดนตรีโดยการใช้สายตาและสามารถหันศีรษะตามแหล่งที่มาของเสียง ทั้งยังตอบสนองต่อเสียงร้องและเสียงดนตรีที่ชอบหรือไม่ชอบโดยการโยกตัว

1 76 77 78 79 80 90